หนังสือพิมตาทันนิวส์

05 กรกฎาคม 2564

การแก้ปัญหายางในช่วงวิกฤติCovid-19

 การแก้ปัญหายางในช่วงวิกฤติCovid-19

ทางเขตภาคตะวันออก กลางซึ่งมีรต.ศุภชัย จันทร์แก้ว





ผอ.เขตใด้ประชุมโดยเรียนเชิญรองผู้ว่าการยางแห่งประเทศไทยใด้เป็นประธานการประชุมแบบZoomเพื่อแก้ปัญหาจากที่ใด้รับมอบหมายจากนายประพันธ์ บุญยเกียรติในที่ประชุมเครือข่ายเกษตรกรระดับประเทศเมื่อ30มิย64เพื่อให้รีบไปแก้ใขในเรื่องปุ๋ยยางที่มีราคาแพงและด้อยคุณภาพและเรื่องที่เกษตรกรขอโค่นยางก่อนอนุมัติจะปลูกยางโดยใช้เงินตนเองไปก่อนแล้วกยท.จ่ายให้ภายหลังที่อนุมัติงบประมาณเพราะชาวสวนยางขอโค่นกันมากจนใม่มีงบประมาณจากเงินcessตามพรบ.กยท.มาตรา49(2)ไม่พอจ่ายและประเด็นสุดท้ายมอบให้ไปหารูปแบบในการถ่ายทอดความรู้เทคโนโลยี่ที่เป็นนวัตกรรมใหม่ๆให้เกษตรกรใด้เพิ่มทักษะเพื่อการแข่งขันใด้โดยเฉพาะในการทำอาชีพเสริมในยุคที่ราคายางตกต่ำก่วาต้นทุนการผลิตประจวบกับใด้รับผลกระทบจากcovid-19ซึ่งมีผลทำให้เศรษฐกิจตกต่ำจึงทำความเดือดร้อนให้เกษตรกร



ทั้ง3ประเด็นนี้อยากฟังความคิดเห็นในที่ประชุมซึ่งสรุปใด้ดังนี้

1.การที่เกษตรกรขอโค่นยางและปลูแทนก่อนที่ยังใม่ใด้อนุมัติเงินนั้นมีความเห็นว่าในการที่เกษตรกรรองบประมาณก่อนปลูกจะทำให้เป็นการเสียเวลาและโอกาศเกษตรกรจึงใม่อยากรอแต่จะใช้เงินส่วนตัวออกไปก่อนแล้วจึงจะเบิกย้อนหลังซึ่งเป็นการขัดระเบียบกยท.ที่ยังใม่ใด้ทำสัญญาความเห็นในที่ประชุมเสนอว่าควรให้กยท.ทำสัญญาไปก่อนกับผู้ที่ประสงค์จะขอปลูกก่อนโดยในสัญญาระบุใว้ว่าถ้ามีปัญหาที่งบประมาณใม่มีทางกยท.จะใม่รับผิดชอบแต่จะให้เจ้าหน้าที่ไปตรวจสวนให้ตามกำหนดแล้วเมืรอมีการอนุมัติแล้วกยท.ก็จะจ่ายเงินตามงวดที่เกษตรหรใด้ทำเพื่อให้งานเดินหน้าและใม่ทำให้เสียเวลา


2.เรื่องปุ๋ยยางในปัจจุบันมีราคาแพงและการจ่ายปุ๋ยที่ผ่านมาใม่ค่อยตรงต่อเวลาจึงทำให้ต้นยางใม่โตใด้ขนาดมาตราฐานทางเขตใด้เรียนให้ที่ประชุมทราบว่าใด้จ่ายเงินให้สถาบันเกศตรกรไปจัดหาปุ๋ยให้สมาชิกเองซึ่งในที่ประชุมเห็นชอบแต่เนื่องจากทางกยท.ควรหาแนวทางให้เกษตรกรใด้มีทางเลือกเพิ่มมากขึ้นจึงใด้นำเสนอแนวทางของชุมนุมสหกรณ์เกษตรระยองซึ่งมีนายเฉลาฉิมภูเป็นประธานและนายประยูร สดใสเคยเป็นผู้จัดการทำตลาดนัดปุ๋ยโดยเชิญบริษัทขายปุ๋ยหลากหลายชนิดมาออกร้านเพื่อให้สถาบันเกษตรกรและเกษตรกรใด้ร่วมกันเลือกปุ๋ยที่มีคุณภาพมาตราฐานและราคาถูกเองโดยทางบริษัทปุ๋ยพร้อมที่จะส่งปุ๋ยให้ก่อนเป็นระยะเวลาใม่น้อยกว่า3เดือนหรือแล้วแต่จะตกลงกันโดยทางผอ.กยท.ระยองนายคารม คงยกพร้อมที่จะให้ที่ตลาดกลางภาคตะวันออกเป็นตลาดนัดปุ๋ยดังนั้นมตืที่ประชุมจึงให้นายเฉลาและนายประยูรไปดำเนินการในการใส่ปุ๋ยปลายฝนซึ่งควรกำหนดในช่วงเดือนสิงหาคมถึงกันยายนเพื่อให้ใด้ปุ๋ยใส่ตามกำหนด



อีกประการหนึ่งในสภาวะที่ราคาปุ๋ยแพงจึงควรให้สถาบันเกษตรกรผสมปุ๋ยสั่งตัดโดยการตรวจดินก่อนและใช้แม่ปุ๋ยเท่าที่จำเป็นจะเป็นการลดต้นทุนมากขึ้นซึ่งเรื่องดังกล่าวนี้จะต้องมีการอบรมเกษตรกรให้เข้าใจดังนั้นในที่ประชุมจึงมอบให้ดร.อุทัยสอนหลักทรัพย์ประสานงานในการหาวิทยากรณ์มาอบรมผสมปุ๋ยสั่งตัด


3.ในเรื่องที่จะจัดตั้งศูณย์เรียนรู้ซึ่งในที่ประชุมใด้มีความเป็นห่วงเกษตรกรชาวสวนยางที่ขายยางต่ำก่วาต้นทุนการผลิตและโดนcovid-19ซึ่งทำให้เศรษฐกิจตกต่ำจึงมีผลกระทบต่อเกษตรกรดังนั้นกยท.จึงควรที่จะจัดหานวัตกรรมใหม่ๆมาถ่ายทอดให้เกษตรกรใด้มีโอกาศเรียนรู้เทคโนโลยี่ใหม่ๆเพิ่มเติมเพื่อเป็นการลดต้นทุนและเพิมผลผลิตเพี่อแข่งขันกับต่างประเทศใด้นอกจากนั้นควรที่จะจัดหาอาชีพเสริมโดยให้ความรู้แก่เกษตรกรและจัดหาตลาดให้เกษตรกรใด้ระบายสินค้าเพื่อเป็นรายใด้เลี้ยงชีพอีกทางหนึ่งด้วย





ในสภาวะวิฤติcovid-19ทำให้เกิดป๊ญหาในด้านเศรษฐกิจตกต่ำรุนแรงดังนั้นในยามนี้จึงต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกฝ่ายมีความสามัคคีร่วมมือกันทำงานเพื่อแก้ปัญหานี้ให้ผ่านไปดังนั้นนายสุขทัศน็รองผู้ว่ากยท.ที่ใด้รับมอบหมายให้ประสานงานจัดตั้งศูณย์เรียนรู้เพื่อเปิดโอกาศให้เกษตรกรชาวสวนยางใด้มาฝีกอบรมและดูงานนวัตกรรมใหม่ๆตามที่ประธานบรอดนายประพันธ์ บุญเกียรติใด้มอบหมายในที่ประชุมมานั้นจึงใด้นำมาปรึกษาหารือกันในการประชุมในครั้งนี้เพื่อที่จะใด้รับฟังข้อคิดเห็นร่วมกันเพื่อให้เกษตรกรใด้อยู่ดีกินดีดังนั้นที่ปรัชุมใด้มีข้อสรุปดังนี้เนื่องจากปัจจุบันงบประมาณของกยท.มีจำนวนจำกัดแต่ก็มีความจำเป็นที่จะต้องเดินหน้าต่อไปโดยใม่หยุดดังนั้นจึงต้องแสวงหาแนวร่วมในภาคของเอกชนและภาคเกษตรกรจะต้องรว่มมือกันดังนั้นในชั้นแรกทางกยท.และสมาคมสหพันธ์ชาวสวนยางแห่งประเทศไทยโดยขอความร่วมมือจากบริษัทนาโนอินทรีย์จำกัดซึ่งผลิตจุลินทรีนาโนโดยใด้รับรองจากกรมวิชาการเกษตรเพื่อปลูกผักผลใม้ปลอดสารพิษและสารเคมีกค้างซึ่เป็นผู้สนับสนุนในการสร้างศูณย์เรียนรู้




พร้อมทั้งสร้างโรงเรือนและจัดหาอุปกรณ์ในการฝึกอบรมเกษตรกรครบครันในโครงการ"อิ่มท้องสมองดี"และเพื่อเป็นโครงการอาหารกลางวันเพื่อสร้างเยาวชนต้นแบบให้เป็นต้นกล้าที่ดีของแผ่นดินเป็นการสร้างสังคมสมานฉันท์และสันติสุขของชุมชนโดยการเพิ่มผลผลิตเกษตรปลอดภัย"ครัวไทยสู่ครัวโลก"ซึ่งจะทำให้เกษตรกรชาวสวนยางที่มีส่วนร่วมจะใด้รับประโยชน์ในการเรียนรู้ไปด้วยพืชแซมยางจะเป็นส่วนหนึ่งที่เป็นแหล่งอาหารใด้ดังนั้นในที่ประชุมจึงมีมติให้กยท.ใด้เป็นเจ้าภาพในการทำข้อตกลงMOUเพื่อเป็นศูณย์เรียนรู้ของเกษตรกรชาวสวนยางที่โค่นยางแล้วปลูกพืชแซมยางเป็นอาชีพเสริมเพิ่มรายใด้ในช่วงที่ใม่มียางกรีดเลี้ยงชีพโดยในที่ประชุมมีความเห็นควรที่จะเริ่มขึ้นภาคละ2แห่งโดยมอบให้กยท.จังหวัดเป็นผู้ประสานงานและให้ความร่วมมือ

รายงาน